ผู้เขียน: woradon

  • หลังคาชนิดโปร่งแสง นอกจากประเภท Acrylic (Shinkolite) และ Polycarbonate แล้ว  ยังมีประเภท Apvc,PVC (แผ่นใส)  และ Fiberglass

    หลังคาชนิดโปร่งแสง นอกจากประเภท Acrylic (Shinkolite) และ Polycarbonate แล้ว  ยังมีประเภท Apvc,PVC (แผ่นใส)  และ Fiberglass

    แผ่นชินโคไลท์ (Shinkolite)
    จะมีคุณสมบัติป้องกันรังสี UV และรังสี Infrared ได้ ทำให้มีคุณสมบัติกันความร้อนดีกว่าแผ่นโปร่งแสงอื่นๆ ความหนา ~ 6 มม. อุปกรณ์ติดตั้งควรใช้เป็นตามมาตรฐานที่ทางผู้ผลิตกำหนดเท่านั้น
    ข้อดี : สวยงาม หรู ดูทันสมัย, ความใสใกล้เคียงกระจก & มีรุ่นกันรังสีอินฟาเรต/UV ทำให้ไม่ร้อน
    ข้อเสีย : ราคาสูงกว่าประเภทอื่น, ต้องใช้อุปกรณ์ติดตั้งเฉพาะ, แผ่นทนแรงกระแทกได้ไม่มาก ความยืดหยุ่นต่ำ & ขยายตัวไม่มาก (ต้องเว้นระยะแผ่นตามผู้ผลิตกำหนด)

    แผ่นโพลีคอร์บอเนต (Polycarbonate)
    เคยได้รับความนิยมมานาน มี 2 แบบ คือ แบบลอนลูกฟูก 2 ชั้น มีช่องอากาศตรงกลาง และแบบแผ่นตัน มีแบบใส-ผิวเปลือกส้ม (ราคาต่างกัน) และมีหลายสี สวยดูทันสมัย
    ข้อดี : สวยงาม, หลายสี , เคลือบสารกัน UV, มีหลายเกรดเลือกได้ตามงบ
    ข้อเสีย : ใต้ชายคายังร้อนเพราะแสงส่องผ่านได้, แสงส่องผ่านมีสีเข้มตามสีแผ่น (แผ่นสีฟ้า >> แสงฟ้า) และเวลาฝนตกเสียงดังป๊อกๆ แป๊กๆ

    แผ่น APVC, PVC (แผ่นใส)

    เป็นแผ่นหลังคาชนิดที่ไม่มีพลาสติดเป็นส่วนผสม แผ่นไม่ค่อยยืดหยุ่น ไม่เหนียวเท่าพวก UPVC มีทั้งแบบสีๆ & สีขุ่น น้ำหนักเบา แต่ถ้าใช้งานไประยะหนึ่งสีอาจจะเริ่มขุ่นหมองลงบ้างนิดหน่อย ปริมาณแสงที่ส่องผ่าน ~ 40%
    ข้อดี : ตัวแผ่นมีทั้งแผ่นใส และแผ่นสี สามารถซ้อนลอนกันได้พอดีทำให้ง่ายต่อการติดตั้ง และออกแบบเว้นช่องแสงได้เลย
    ข้อเสีย : ความร้อนใต้โครงสะสมอยู่บ้าง, มีเสียงค่อนข้างเบาเวลาฝนตกน้อยกว่าประเภทอื่น

    แผ่นไฟเบอร์กลาส (Fiberglass)
    บางทีก็เรียกันว่าแผ่นดีไลท์ แผ่นโปร่งแสงที่มีส่วนผสมของเส้นใยไฟเบอร์กลาส ทำให้แสงที่ส่องผ่านลงมาด้านล่าง นุ่มสบายตากว่าประเภทอื่นๆ
    ข้อดี : แสงสบายตา, เสียงแน่นกว่าโพลีฯ เล็กน้อย, ราคาไม่สูง
    ข้อเสีย : เสียงฝนกระทบยังถือว่าดัง แต่ไม่กระหึ่มเท่าแผ่นเมทัลชีท, แผ่นบาง ~1.2 มม.

    สรุป
    >> เสียง (น้อย–> มาก) = APVC < อะคริลิค < แผ่นไฟเบอร์กลาส < โพลีคาร์บอเนต
    >> ความร้อน (น้อย–> มาก) = อะคริลิค (Shinkolite รุ่นกันร้อน) < โพลีฯ เกรดA < แผ่นไฟเบอร์กลาส < APVC < โพลีฯ เกรดธรรมดา
    >> ราคา (มาก–> น้อย) = อะคริลิค (Shinkolite) < โพลีคาร์บอเนต เกรดA < แผ่นไฟเบอร์กลาส < APVC < โพลีฯ เกรดธรรมดา
    >> ความทนทาน (มาก–> น้อย) = APVC < โพลีคาร์บอเนต เกรดA < อะคริลิค(Shinkolite) < แผ่นไฟเบอร์กลาส < โพลีฯ เกรดธรรมดา

    คคห.ส่วนตัว หากไม่ติดเรื่องงบประมาณ แนะนำให้พิจารณาแผ่นหลังคาอะครีลิค (Shinkolite)

    ขอบคุณความรู้จาก pantip.com

    https://pantip.com/topic/36800752

  • อะครีลิค โพลีคาร์บอเนท กระจกนิรภัย อะไรดีกว่ากัน?

    อะครีลิค โพลีคาร์บอเนท กระจกนิรภัย อะไรดีกว่ากัน?

    อะครีลิค (Acrylic) คืออะไร?

    แผ่นอะครีลิค “Acrylic”เป็นแผ่นพลาสติกเรียบชนิด Thermoplastic ซึ่งผลิตจากน้ำยา MMA (Methyl Methacrylate) นำไปเข้าระบบหล่อแบบ (Casting System) ซึ่งมีคุณสมบัติพิเศษ คือ เมื่อได้รับความร้อนสูงจะอ่อนตัวลง สามารถดัดหรือขึ้นรูปเป็นแบบต่าง ๆ ได้ และเมื่อเย็นตัวลงจะแข็งตัวและคงสภาพไว้ มีน้ำหนักเบาและสามารถแกะสลัก พ่นสี ระบาย หรือ ชิลค์สกรีน เป็นรูปหรือลวดลายต่างๆ ได้

    กระบวนการผลิต ของ Acrylic ใน 2 ระบบ แตกต่างกันในแง่ของวัตถุดิบที่ใช้ในการผลิต โดยในระบบ Casting จะใช้น้ำยา MMA เป็นวัตถุดิบในการผลิต ส่วนในระบบ Extrusion ใช้เม็ด PMMA ในการผลิต สำหรับคุณสมบัติจะใกล้เคียงกัน เนื่องจากมีวัตถุดิบเบื้องต้นชนิดเดียวกัน เพียงแต่เมื่อผ่าน process ที่แตกต่างกันจึงทำให้มีข้อจำกัดการใช้งานต่างกันซึ่ง ขึ้นอยู่กับการนำไปใช้งานในลักษณะต่างๆด้วย วิธีการพับแผ่นอะครีลิคเป็นมุมต่างๆ คือนำแผ่นอะครีลิคไปให้ความร้อนตามแนวเส้นลวดความร้อน เมื่ออะครีลิคนิ่มตัว จึงทำการพับให้ได้มุมตามที่ต้องการคุณสมบัติพิเศษ อีกอย่างหนึ่งของแผ่นอะครีลิค คือ สามารถทนแรงกระแทกได้ดีกว่ากระจกครับ โดยความหนาของแผ่นจะเป็นปัจจัยที่แปรผันโดยตรงกับการทนแรงกระแทกขนาดความหนาของแผ่นอะครีลิคมีตั้งแต่ 2 มิลลิเมตร – 100 มิลลิเมตรสามารถนำมาผลิตเป็นสิ่งของต่างๆ ได้ หลากหลาย เ่ช่น กรอบรูป , ชั้นวางโชว์ , ป้ายโฆษณา , ฯลฯ      จุดเด่นของแผ่นอะครีลิค    อยู่ที่ความแข็งแรง    ทนต่อความร้อนและแสงแดด เมื่อเทียบกับไม้ ซึ่งมีข้อจำกัดเมื่อนำมาวางกลางแจ้งเป็นเวลานาน สีของไม้ จะเปลี่ยนและผุพังได้ง่าย ด้วยเหตุนี้ เฟอร์นิเจอร์จากอ่างอาบน้ำจึงแข็งแรง ทนทาน สีสดใส อายุใช้งานยาวนานประมาณ 10 ปี และรองรับน้ำหนักผู้นั่งได้ 3-4 คน

    ข้อดีของการนำวัสดุแผ่นโพลีคาร์บอเนท มาใช้ในงาน

    แผ่นโพลีคาร์บอเนท เป็นวัสดุ ผลิตจากเม็ดพลาสติก (Poly) ผสมด้วยสารที่มีคุณสมบัติทำให้แผ่นมีความยืดหยุ่นตัว หรือขยายตัวเมื่อได้รับความร้อน และจะคลายตัวเมื่อมีอุณหภูมิลดลง จึงแข็งแรงทนทาน ไม่ทำให้แผ่นแตกลายงาเหมือนพลาสติกทั่วไป
    – น้ำหนักเบา คงทน ไม่แตกหักง่าย ทนต่อสภาวะแวดล้อมต่างๆได้ดี
    – มีความแข็งแรงมากกว่ากระจกถึง 250 เท่า แข็งแรงกว่าแผ่นอะครีลิคถึง 20 เท่า
    – วัสดุแผ่นมีความโปร่งแสง ผิวของแผ่น โพลีคาร์บอเนท เคลือบด้วยสารป้องกันรังสี UV จึงสามารถสะท้อนรังสีความร้อนได้เกือบ 100% เหมาะกับงานที่ต้องการแสงสว่าง ช่วยเป็นฉนวนกันความร้อนจากภายนอก ทนทานต่อความร้อนได้ดี การนำความร้อนต่ำ

    ข้อดีของกระจกนิรภัย

    1. เมื่อกระจกแตกจะไม่มีเศษกระจกหลุดออกมาทำอันตรายผู้ขับขี่หรือผู้โดยสาร
    2. เมื่อกระจกแตกยังคงมองเห็นทัศนวิสัยได้ชัดเจนเกือบเหมือนเดิม
    3. เมื่อกระจกแตกร้าวยังคงใช้งานได้โดยไม่จำเป็นต้องเปลี่ยนทันทีในขณะนั้น คือกระจกยังคงรูปเหมือนเดิมยังสามารถป้องกันลม ฝุ่นน้ำฝนได้
    4. ผู้โดยสารหรือผู้ขับขี่จะไม่ได้รับอันตรายร้ายแรงในกรณีผู้ขับขี่หรือผู้โดยสารกระแทกกับกระจกในกรณีเกิดอุบัติเหตุ
  • คุณสมบัติของอะคริลิคเปรียบเทียบกับกระจกแก้ว

    คุณสมบัติของอะคริลิคเปรียบเทียบกับกระจกแก้ว

    1. อะคริลิคมีน้ำหนักเบากว่ากระจกแก้ว ทำให้เคลื่อนย้ายและติดตั้งได้ง่าย
    2. แสงสว่างส่องผ่านได้มากกว่าแก้ว
    3. อะคริลิคสามารถเชื่อมติดกันได้ถึงระดับโมเลกุล โดยใช้สารเคมี เช่น ไดคลอโรมีเทน (Dichloromethane) หรือไตรคลอโรมีเทน (Trichloromethane) ทำให้อะคริลิคอ่อนตัวและสามารถเชื่อมต่อเป็นเนื้อเดียวกันได้สวยงาม เพราะมีรอยต่อที่เล็กมาก
    4. อะคริลิค มีความเป็นฉนวนความร้อนได้ดีกว่าแก้วประมาณ 20 เปอร์เซ็นต์ จึงเป็นฉนวนความร้อนที่ดี แต่มีราคาแพงกว่า

    ที่มา: ศูยน์เทคโนโลยีโลหะและวัสดุแห่งชาติ (ศว.)
    สาระน่ารู้: อะคริลิคพลาสติกคู่แข่งกระจกแก้ว

  • คุณสมบัติของอะคริลิคและการนำไปใช้ ทำอะไรได้บ้าง??

    คุณสมบัติของอะคริลิคและการนำไปใช้ ทำอะไรได้บ้าง??

    คุณสมบัติของอะคริลิค

    • สามารถดัดเป็นรูปต่างๆได้ตามต้องการด้วยความร้อน
    • มีน้ำหนักเบา โดยมีน้ำหนักเพียงครึ่งหนึ่งของน้ำหนักแผ่นกระจกขนาดเดียวกัน
    • สามารถต้านแรงกระแทกได้มากกว่ากระจกถึง 15 เท่า
    • ไม่ทำปฏิกิริยากับสารละลายเกลือ น้ำมัน น้ำมันเชื้อเพลิง เช่น ก๊าซโซลีน สารเคมีและด่าง
    • เป็นฉนวนกันความร้อนและกันไฟฟ้าได้ อีกทั้งไม่เป็นตัวนำความร้อน
    • นำมาเลื่อย ตะไบ เจาะรู หรือเข้าเครื่องตัดเป็นรูปต่างๆ ได้ตามต้องการ นอกจากนี้ยังสามารถใช้ซิลค์สกรีน
    • สลักลงบนแผ่นอะคริลิคหรือนำมาเชื่อมต่อกันได้

    อะคริลิคนำไปใช้อะไรได้บ้าง?

    • ใช้ทำฝาครอบเครื่องจักร ฝาครอบโมเดล หุ่นจำลอง
    • ใช้เป็นวัตถุดิบในการผลิตเครื่องใช้สำหรับงานตกแต่งภายใน เช่น ทำโต๊ะ เก้าอี้ ตู้วางสินค้า ชั้นโชว์สินค้า โป๊ะไฟ เครื่องสุขภัณฑ์ต่างๆ ผนังกั้นห้อง ฯลฯ
    • ใช้ทำหลังคารูปโดม หลังคาโปร่งแสง ฯลฯ
    • ใช้ทำแผ่นป้ายโฆษณา ส่วนประกอบตู้โทรศัพท์สาธารณะ แผงกั้นเคาน์เตอร์ ตู้ ATM ฯลฯ
    • ใช้ทำทำตู้ปลา ตู้โชว์สินค้า ไม้บรรทัด กรอบรูป กล่องใส่โบว์ชัวร์ ป้ายสอดเมนูอาการ พวงกุญแจ ของชำร่วย ฯลฯ
    • ใช้ทำชุดแต่งรถยนต์ เช่น กันสาด กันแมลง ตกแต่งเครื่องเสียงรถยนต์ หน้ากากหมวกกันน็อก ที่บังลมรถมอเตอร์ไซด์
    • ใช้ทำเครื่องใช้ไฟฟ้า เครื่องมือการแพทย์ ฯลฯ

    กระบวนการผลิต ของ Acrylic ใน 2 ระบบ แตกต่างกันในแง่ของวัตถุดิบที่ใช้ในการผลิต โดยในระบบ Casting จะใช้น้ำยา MMA เป็นวัตถุดิบในการผลิต ส่วนในระบบ Extrusion ใช้เม็ด PMMA ในการผลิต สำหรับคุณสมบัติจะใกล้เคียงกัน เนื่องจากมีวัตถุดิบเบื้องต้นชนิดเดียวกัน เพียงแต่เมื่อผ่าน process ที่แตกต่างกันจึงทำให้มีข้อจำกัดการใช้งานต่างกันซึ่ง ขึ้นอยู่กับการนำไปใช้งานในลักษณะต่างๆด้วย วิธีการพับแผ่นอะคริลิคเป็นมุมต่างๆ คือนำแผ่นอะคริลิคไปให้ความร้อนตามแนวเส้นลวดความร้อน เมื่ออะคริลิคนิ่มตัว จึงทำการพับให้ได้มุมตามที่ต้องการ จากที่เรารู้จักในเรื่องของคุณสมบัติและการนำไปใช้งานนั้น เราสามารถเลือกวัสดุให้ตรงกับสินค้าของลูกค้า ตรงกับลักษณะของการทำงานนั้นเอง

  • ความรู้เกี่ยวกับอะคริลิค

    ความรู้เกี่ยวกับอะคริลิค

    แผ่นอคิลิค “Acrylic”เป็นแผ่นพลาสติกเรียบชนิด Thermoplastic ซึ่งผลิตจากน้ำยา MMA (Methyl Methacrylate) นำไปเข้าระบบหล่อแบบ (Casting System) ซึ่งมีคุณสมบัติพิเศษ คือ เมื่อได้รับความร้อนสูงจะอ่อนตัวลง สามารถดัดหรือขึ้นรูปเป็นแบบต่าง ๆ ได้ และเมื่อเย็นตัวลงจะแข็งตัวและคงสภาพไว้ มีน้ำหนักเบาและสามารถแกะสลัก พ่นสี ระบาย หรือ SILK SCREEN เป็นรูปหรือลวดลายต่างๆ ได้

    กระบวนการผลิต ของ Acrylic ใน 2 ระบบ แตกต่างกันในแง่ของวัตถุดิบที่ใช้ในการผลิต โดยในระบบ Casting จะใช้น้ำยา MMA เป็นวัตถุดิบในการผลิต ส่วนในระบบ Extrusion ใช้เม็ด PMMA ในการผลิต สำหรับคุณสมบัติจะใกล้เคียงกัน เนื่องจากมีวัตถุดิบเบื้องต้นชนิดเดียวกัน เพียงแต่เมื่อผ่าน process ที่แตกต่างกันจึงทำให้มีข้อจำกัดการใช้งานต่างกันซึ่ง ขึ้นอยู่กับการนำไปใช้งานในลักษณะต่างๆด้วย

    วิธีการพับแผ่นอะครีลิคเป็นมุมต่างๆ คือนำแผ่นอะครีลิคไปให้ความร้อนตามแนวเส้นลวดความร้อน เมื่ออะครีลิคนิ่มตัว จึงทำการพับให้ได้มุมตามที่ต้องการ

    คุณสมบัติ

    • สามารถดัดเป็นรูปต่างๆได้ตามต้องการด้วยความร้อน
    • มีน้ำหนักเบา โดยมีน้ำหนักเพียงครึ่งหนึ่งของน้ำหนักแผ่นกระจกขนาดเดียวกัน
    • สามารถต้านแรงกระแทกได้มากกว่ากระจกถึง 15 เท่า
    • ไม่ทำปฏิกิริยากับสารละลายเกลือ น้ำมัน น้ำมันเชื้อเพลิง เช่น ก๊าซโซลีน สารเคมีและด่าง
    • เป็นฉนวนกันความร้อนและกันไฟฟ้าได้ อีกทั้งไม่เป็นตัวนำความร้อน
    • นำมาเลื่อย ตะไบ เจาะรู หรือเข้าเครื่องตัดเป็นรูปต่างๆ ได้ตามต้องการ นอกจากนี้ยังสามารถใช้ซิลค์สกรีน สลักลงบนแผ่น อะคริลิค หรือนำมาเชื่อมต่อกันได้

    การนำไปใช้งาน

    • ใช้ทำฝาครอบเครื่องจักร ฝาครอบโมเดล หุ่นจำลอง
    • ใช้เป็นวัตถุดิบในการผลิตเครื่องใช้สำหรับงานตกแต่งภายใน เช่น ทำโต๊ะ เก้าอี้ ตู้วางสินค้า ชั้นโชว์สินค้า โป๊ะไฟ เครื่องสุขภัณฑ์ต่างๆ ผนังกั้นห้อง ฯลฯ
    • ใช้ทำหลังคารูปโดม หลังคาโปร่งแสง ฯลฯ
    • ใช้ทำแผ่นป้ายโฆษณา ส่วนประกอบตู้โทรศัพท์สาธารณะ แผงกั้นเคาน์เตอร์ ตู้ ATM ฯลฯ
    • ใช้ทำทำตู้ปลา ตู้โชว์สินค้า ไม้บรรทัด กรอบรูป กล่องใส่โบว์ชัวร์ ป้ายสอดเมนูอาการ พวงกุญแจ ของชำร่วย ฯลฯ
    • ใช้ทำชุดแต่งรถยนต์ เช่น กันสาด กันแมลง ตกแต่งเครื่องเสียงรถยนต์ หน้ากากหมวกกันน็อก ที่บังลมรถมอเตอร์ไซด์
    • ใช้ทำเครื่องใช้ไฟฟ้า เครื่องมือการแพทย์ ฯลฯ
  • แผ่นอะครีลิค คืออะไร

    แผ่นอะครีลิค คืออะไร

    แผ่นอะคริลิค “Acrylic” เป็นแผ่นพลาสติกเรียบจำพวก Thermoplastic ซึ่งผลิตขึ้นจากน้ำยา MMA (Methyl Methacrylate) นำไปเข้าระบบหล่อแบบ (Casting System) ซึ่งมีลักษณะเด่นหมายถึงเมื่อได้รับความร้อนสูงจะอ่อนตัวลง สามารถดัดหรือขึ้นรูปเป็นแบบต่างๆได้ รวมทั้งเมื่อเย็นตัวลงจะแข็งและก็ทรงสภาพไว้ มีน้ำหนักเบา สามารถสลัก ตัดเลเซอร์ พ่นสี ระบาย พิมพ์สกรีน พิมพ์แสงอัลตราไวโอเลต ปั๊มทองนอก เป็นรูปหรือลวดลายต่างๆได้

    กรรมวิธีการผลิต ของ แผ่นอะคริลิคใน 2 ระบบ ไม่เหมือนกันในด้านของวัตถุดิบที่ใช้เพื่อการผลิต โดยในระบบ Casting จะใช้น้ำยา MMA เป็นวัตถุดิบสำหรับในการผลิต ส่วนในระบบ Extrusion ใช้เม็ด PMMA สำหรับการผลิต สำหรับคุณลักษณะจะใกล้เคียงกัน เพราะว่ามีวัตถุดิบพื้นฐานประเภทเดียวกัน ก็แค่เมื่อผ่าน process ที่แตกต่างก็เลยทำให้มีข้อกำหนดการใช้แรงงานแตกต่างกันซึ่ง ขึ้นกับการนำไปใช้งานในรูปแบบต่างๆด้วย

    แนวทางการพับแผ่นอะคริลิคเป็นมุมต่างๆเป็นนำอะคริลิคไปให้ความร้อนตามแนวเส้นลวดความร้อน เมื่ออะคริลิคนิ่มตัว ก็เลยกระทำการพับให้ได้มุมดังที่อยากได้

    ลักษณะเด่น อีกอย่างหนึ่งของแผ่นอะคริลิคเป็นสามารถทนแรงชนได้ดีมากว่ากระจก โดยความหนาของแผ่นจะเป็นเหตุที่แปรผันโดยตรงกับการทนแรงชน ขนาดความครึ้มของแผ่นอะคริลิคมีตั้งแต่ 2 มม. – 40 มม. มีขนาด 4*6 รวมทั้ง 4*8 ฟุต สามารถเอามาสร้างเป็นข้าวของต่างๆได้ หลากหลาย เป็นต้นว่า โล่รางวัล, โพเดี่ยม, กรอบรูป, ชั้นที่มีไว้สำหรับวางสิ่งของ,ที่โชว์ผลิตภัณฑ์, ป้ายที่ใช้สำหรับโฆษณา, อื่นๆอีกมากมาย

    ข้อดีของแผ่นอะคริลิค อยู่ที่ความแข็งแรง ทนต่อความร้อนรวมทั้งแสงอาทิตย์ เมื่อเทียบกับไม้ ซึ่งมีความจำกัดเมื่อเอามาวางที่โล่งแจ้งเป็นระยะเวลาที่ยาวนาน สีของไม้ จะแปลงรวมทั้งผุพังได้ง่าย ด้วยเหตุผลดังกล่าว เครื่องเรือนจากอ่างอาบน้ำก็เลยแข็งแรง ทน สีแจ่มใส อายุการใช้งานนานโดยประมาณ 10 ปี แล้วก็รองรับน้ำหนักผู้นั่งได้ 3-4 คน